กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ รูปแบบแท่งเทียน

บทความ

แท่งเทียนประเภทคู่: Harami Pattern Harami Pattern Harami Pattern เป็นรูปแบบการกลับตัวของแท่งเทียนประเภทคู่ สัญญาณที่เกิดจาก Harami จะมีน้ำหนักน้อยกว่ารูปแบบอื่น ๆ เช่น Engulfing Pattern หรือ Peircing Pattern อย่างไรก็ตาม Harami ก็ยังถือว่าเป็นรูปแบบของแท่งเทียนที่เชื่อถือได้อีกรูปแบบหนึ่ง Harami Pattern ประกอบด้วยแท่งเทียน 2 แท่ง โดยแท่งแรกจะเป็นแท่งเทียนที่มีขนาดใหญ่และ ในแท่งถัดมาจะเป็นแท่งเทียนขนาดเล็ก (Spinning Top) ที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะของ Body ของแท่งเทียนก่อนหน้า คำว่า Harami ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่า “คนท้อง” แท่งเทียนแท่งใหญ่ ๆ ด้านหน้าเปรียบเสมือน “แม่” และแท่งเทียนแท่งเล็กที่อยู่ถัดมาก็เปรียบเสมือน “ลูก” นั่นเอง สีของแท่งเทียนที่เป็นแท่งลูก (Spinning Top) ไม่มีความสำคัญใด ๆ รูปแบบของ Harami Pattern มีความคล้ายคลึงกับ Inside Bar ของทางฝั่งตะวันตก แต่ Harami จะเน้นที่ตัว Body ว่าจะต้องอยู่ในระยะของ Boay ของแท่งก่อนหน้าเท่านั้น ไส้หรือหางของแท่ง Harami สามารถเลยระยะ Body ของแท่งก่อนหน้าได้ ในขณะที่รูปแบบ Inside Bar ทั้ง High และ Low ของแท่ง Inside Bar จะต้องอยู่ในระยะขอ
แท่งเทียนประเภทคู่: Engulfing Pattern โดยส่วนมากแล้วรูปแบบการกลับตัวของกราฟแท่งเทียนมักจะเป็นรูปแบบคู่หรือ Double Candlesticks ซึ่งเกิดจากการอ่านแท่งเทียนเดี่ยว 2 แท่ง Engulfing Pattern เป็นแท่งเทียนรูปแบบคู่ของการกลับตัวของกราฟแท่งเทียนแบบแรกที่ผมจะกล่าวถึง Engulfing Pattern เป็นหนึ่งในรูปแบบหลักของ Reversal Patterns (รูปแบบการกลับตัวของกราฟแท่งเทียน) ประเภทคู๋ซึ่งรูปแบบนี้จะวัดเอาจาก real body ของทั้งสองแท่งที่แสดงทิศทางของราคาหรือเทรนที่ตรงกันข้าม ภาพนี้เป็นภาพของ  Bullish Engulfing Pattern  ก่อนหน้าที่รูปแบบนี้จะเกิดขึ้นตลาดเป็นแนวโน้มขาลงหรือ downtrend มาก่อนจากนั้นก็มีแท่งเทียนขาขึ้นที่สามารถ “กลืนกิน” (engulf) แท่งเทียนขาลงสีดำก่อนหน้าได้สำเร็จ แท่งเทียนรูปนี้บอกกับเราว่าแรงของขาขึ้นสามารถเอาชนะแรงของขาลงได้แล้ว หรือ แรงของขาขึ้นเริ่มที่จะมีอิทธิพลเริ่มมีแรงซื้อเข้ามาแล้ว ส่วนรูปด้านล่าง เ ป็น  B earish Engulfing Pattern  ก่อนหน้าที่รูปแบบนี้จะเกิดขึ้นตลาดเป็นแนวโน้มขาขึ้นหรือ uptrend มาก่อนจากนั้นก็มีแท่งเทียนขาลงที่สามารถ “กลืนกิน” (engulf) แท่งเทียนขาขึ้นสีขาวก่อนหน้าได้สำเร็
แท่งเทียนประเภทเดี่ยว: อัศจรรย์แห่งโดจิ (Doji) โดจิเป็นแท่งเทียนที่มีจุดเปิดและจุดปิดของแท่งเทียนปิดในตำแหน่งเดียวกัน ความสำคัญของโดจิอยู่ที่ตำแหน่งที่แท่งโดจิได้ปิดแท่ง ตามทฤษฎีแล้วโดจิจะต้องเป็นแท่งที่ปิดในตำแหน่งเดียวกับจุดเปิดเป๊ะ ๆ แต่ในโลกแห่งความเป็นจริงไม่มีอะไรที่สมบูรณ์แบบ 100% สำหรับโดจิก็ไม่มีข้อยกเว้น ดังนั้นจึงมีกฎที่พอจะอะลุ่มอล่วยสำหรับการดูโดจิอยู่ หากแท่งที่เห็นมีจุดเปิดและจุดปิดอยู่ใกล้กันมาก ๆ ผู้เทรดสามารถมองแท่งนั้นว่าเป็นโดจิได้ แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าแท่งนั้นเป็นโดจิหรือ Spinning Top? การมองว่าแท่งเทียนแท่งไหนเป็นโดจิหรือไม่ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และวิจารณญาณของผู้เทรดแต่ละคน เพราะมันไม่มีกฎตายตัวสำหรับเรื่องนี้ ผู้เทรดควรจะพิจารณาโดจิโดยยึดเอาสภาพแวดล้อมรอบข้างของโดจิแท่งนั้น ๆ เป็นเกณฑ์ ยกตัวอย่างเช่น หากรอบ ๆ แท่งที่ผู้เทรดคิดว่าเป็นโดจิ มีแท่งเทียนเล็ก ๆ อยู่มากมาย แท่งเทียนแท่งนั้นก็ไม่ควรมองว่าเป็นโดจิแต่ควรมองว่ากราฟเป็น sideways และไม่เข้าไปยุ่งกับมัน แต่หากตลาดอยู่ในตำแหน่งที่มีนัยสำคัญเช่น แนวรับแนวต้านจากสวิง High หรือ Low หรือตำแหน่งปรับฐานของ Fibonacci
แท่งเทียนประเภทเดี่ยว: Hammer & Hanging Man รูปแบบ hammer และ hanging man สำหรับผู้อ่านอาจจะสับสนอยู่บ้างระหว่าง open price กับ close price ของ  hammer และ hanging man ซึ่งมันอยู่ใกล้ ๆ กันไหนจะ ของแท่งยืนยันอีกอาจจะทำให้ผู้อ่านเกิดความสับสนได้ ผมจึงได้สรุปใจความสำคัญบางส่วนมาให้ครับ $$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$ Hanging Man - มีจุดเปิด (open price) ที่สูงกว่าจุดปิด (close price) - มีหางหรือไส้ (lower shadow) ที่ยาวเป็น 2/3 ของแท่ง - เกิดขึ้นในตลาดขาขึ้น (Uptrend) - การยืนยันรูปแบบ hanging man คือแท่งเทียนที่เปิดถัดจากแท่ง hanging man ได้ต้องมี open price ที่ต่ำกว่า close price ของแท่ง hanging man - การยืนยันอีกอย่างของรูปแบบ hanging man คือ close price ของแท่งที่ถัดจากแท่ง hanging man จะต้องปิดต่ำกว่า close price ของแท่ง hanging man Hammer - มีจุดเปิด (open price) ที่ต่ำกว่าจุดปิด (close price) - มีหางหรือไส้ (lower shadow) ที่ยาวเป็น 2/3 ของแท่ง - เกิดในตลาดขาลง (Downtrend) - ในการยืนยันสัญญาณกลับตัวจาก hammer แท่งเทียนที่อยู่ถัดจากแท่ง hammer มีลั